Monday, December 7, 2009

Differential Settlement การพังของโครงสร้างที่ทรุดต่างกัน

สําหรับการออกแบบฐานรากที่รองรับโครงสราง หากเกิดมีการทรุดตัวไมเทากัน (Differential Settlement) ระหวางสองจุดใดๆ ในโครงสรางมากเกินไป อาจจะทําใหโครงสรางเกิดความเสียหายได อันเนื่องมาจากโมเมนตที่เพิ่มขึ้น การทรุดตัวไมเทากันก่อใหเกิดปญหาไดมากกวาการทรุดตัวสม่ำเสมอ (Uniform Settlement) โดยทําใหโครงสรางเกิดการบิด(Distortion) กอใหเกิดผลที่ตามมาคือ เกิดรอยแตกตามกําแพง พื้น และชิ้นสวนอื่นๆ เมื่อมีปริมาณมากๆ จะทําใหโครงสรางแยกออกจากกัน และนําไปสูการวิบัติตอไป บทความนี้ไดเสนอแนวทางการประเมินการทรุดตัวไมเทากัน รวมถึงเสนอวิธีลดการทรุดตัวไมเทากันของโครงสราง

In design of foundations for a structure, if there is a large differential settlement between two columns or various part of a structure, damage may occur due to developed additional moments. Differential settlement is more harmful to a structure than uniform settlement because it distorts the structure. Differential settlement causes cracking in walls, floors, and other members. The failure of a structure may occur if the amount of differential settlement is excessive. This paper presents the evaluation method for differential settlement on a structure including methods of remedying differential settlement problems.

ฐานรากที่วางบนชั้นดินตางๆ ยอมเกิดการทรุดตัว ขึ้นไดเมื่อเวลาผานไป โดยปริมาณและรูปแบบการทรุดตัวของฐานรากแตละแบบจะมีความแตกตางกันไป เชน ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) ยอมทรุดตัวไดมากกวาฐานรากเสาเข็ม (Pile Foundation) หรือแมแตฐานรากเสาเข็มที่มี ความยาวตางกันก็ทรุดตัวไมเทากันได วิศวกรโยธาตองเรียนรูที่จะปองกันระบบฐานรากไมใหผลของการทรุดตัวถึง ขีดสุดที่ใชงานได (Serviceability limit states) ดังแสดงใน ตารางที่ 1

ในทางวิศวกรรมโยธาไดจําแนกลักษณะของการทรุดตัว ไวเปน 2 แบบ คือ

1. การทรุดตัวทั้งหมด (Total Settlement) คือ ขนาด การเคลื่อนที่ลงของอาคารหรือดินถม

2. การทรุดตัวไมเทากัน (Differential Settlement) คือ ขนาดความแตกตางกันระหวางการทรุดตัวของบริเวณสองแหง

2. ลักษณะความเสียหายและสาเหตุของการทรุดตัว

2.1 ความเสียหายจากการทรุดตัวทั้งหมด หรือการทรุดตัว แบบสม่ำเสมอ มักเกิดจากขีดจํากัดของการระบายน้ำ ทําใหเกิดความเสียหายตอโครงสรางขางเคียง และระบบสาธารณูปโภค แมวาการทรุดตัวจะเกิดขึ้นสม่ำเสมอหรือเกือบสม่ำเสมอ แตหากมีคามากก็สามารถทําใหเกิดปญหาได เชน การทรุดตัว ในบริเวณใกลแมน้ำลําธาร อาจทําใหเกิดน้ำทวมในชวงที่ระดับน้ำสูงขึ้น การคํานวณหาปริมาณการทรุดตัวทั้งหมด ตองอาศัยพื้นฐานการคํานวณทางดานวิศวกรรมปฐพี ซึ่ง สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากหนังสือวิศวกรรมปฐพี และปฐพีกลศาสตรทั่วไป

2.2 ความเสียหายจากการทรุดตัวที่ไมเทากัน วิศวกรออกแบบโครงสรางที่วางอยูบนฐานรากโดยคํานวณการทรุดตัวของโครงสรางไวเปนอยางดี และคาด หวังวาจะมีการทรุดตัวเทากันในทุกๆ จุดของโครงสราง แตในความเปนจริงแลวนั้นกลับไมเปนตามที่คำนวณไว โดย พบวา บางตําแหนงกลับทรุดตัวนอย แตบางแหงกลับทรุดตัวมาก นั่นคือ เกิดการทรุดตัวไมเทากัน

การทรุดตัวไมเทากัน (δD) หมายถึง ผลตางของการทรุดตัวจริงระหวางฐานราก 2 ฐาน หรือระหวาง 2 จุดในฐานรากเดียวกัน การทรุดตัวไมเทากันกอใหเกิดผลเสีย และสงผลกระทบคอนขางรุนแรงมากกวาการทรุดตัวสม่ำเสมอ เนื่องจากการทรุดตัวไมเทากันมักจะทําใหโครงสรางเกิดการบิด (Distortion) ซึ่งผลที่ตามมาคือ เกิดรอยแตกตามกําแพง พื้น และชิ้นสวนอื่นๆ เปด/ปดประตูหนาตางไมได หรือเกิดปญหาเรื่องความสวยงามทางสถาปตยกรรม เปนตน การทรุดตัวไมเทากันที่มากเกินไปจะทําใหโครงสรางแยกออกจากกัน และนํา ไปสูการวิบัติตอไป โดยทั่วไปการทรุดตัวไมเทากันจะแสดงอาการขั้น แรกที่ผนังกออิฐกอน โดยเริ่มเกิดการราวเปนเสนทแยง มุมประมาณ 45 องศากับแนวราบ จากนั้นรอยราวจะกวางขึ้น และยาวขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดอาจจะเกิดการวิบัติของโครงสรางตรงรอยเชื่อมระหวางคานกับเสาและที่หัวเสา ซึ่งธรรมชาติของการทรุดตัวไมเทากันทําใหเกิดผลเสียหายไดหลายประการ คือ

(ก) ทําใหโครงสรางเอียง กรณีที่โครงสรางเอียงไม มากจะทําใหสังเกตไมเห็น และไมทําให ประโยชนใชสอยของโครงสรางลดลง แตถาเกิดการเอียงที่มากกวา 1 : 250 จะสามารถสังเกตเห็นไดดวยตาเปลา

(ข) การทรุดตัวไมเทากันทําใหเกิดรอยราว รูปทรงทางสถาปตยกรรมเสียหาย หากการทรุดตัวไมเทากันมากขึ้น บานประตูและหนาตางจะเสียรูปทรงจนกระทั่งไมสามารถใชงานได พื้นและบันไดแตกหักเสียหาย และทําใหกระจกหนา ตางแตก ในขั้นนี้ประโยชนการใชสอยของอาคารจะลดลงอยางมาก

(ค) การทรุดตัวไมเทากันที่มีคามาก อาจทําใหรอยราวของโครงสรางแผขยายออกไปมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งโครงสรางทั้งหมดเสียหาย และโครงสรางจะพังทลายลงโดยงายเมื่อเกิดแผนดินไหว

(ง) ถาโครงสรางทรุดตัวเมื่อเทียบกับดินที่อยูโดย รอบ หรือดินที่อยูโดยรอบทรุดตัวเมื่อเทียบกับโครงสราง ทางเขาของอาคารจะแตกแยกออกจากกัน หรือทําใหทอประปาแตกหักเสียหายได

2.3 สาเหตุของการทรุดตัวที่ไมเทากัน

การทรุดตัวไมเทากัน เกิดจากสาเหตุหลายประการ ไดแก

ความไมสม่ำเสมอของชั้นดิน ชั้นดินบางตําแหนงใตฐานรากอาจเปนดินแข็ง บางแหงเปนดินออน ซึ่งจะทําใหเกิดการยุบตัวที่ไมเทากัน หรือกรณีที่มีตาน้ำใตฐานรากบางฐาน หรือบางบริเวณเคยเปนคูน้ำ หรือเปนบอน้ำ หรือที่ลุมมากอน หรือมีการปลอยน้ำใหแฉะอยูบริเวณเดียวเปนเวลานาน จะทําใหดินในบริเวณนั้นรับน้ำหนักไดนอยกวาบริเวณขาง เคียง จึงทําใหเกิดปญหาการทรุดตัวไมเทากันแกฐานรากได ดังนั้นถาจะคํานวณออกแบบโครงสรางในบริเวณที่ไมมีขอมูลเกี่ยวกับสภาพ

ชั้นดินเพียงพอ ควรจะทําการเจาะสํารวจสภาพชั้นดิน (Soil Boring) กอนทุกครั้ง เพื่อใชเปนขอมูลในการออกแบบตอไป

ความยาวของเสาเข็มในแตละฐานของอาคารหลังเดียวกันตางกันมาก การใชเสาเข็มที่มีความยาวตางกันมากในอาคารหลังเดียวกัน ปลายเสาเข็มจะจมอยูในดินที่มีความแข็งไมเทากัน ดังนั้นจึงเกิดการทรุดตัวที่ไมเทากัน อัตราสวนของแรงกระทําจริงและแรงกระทําที่ออกแบบไวแตกตางกันในเสาแตละตน ทําใหแรงที่สงถายลงสูฐานรากไมเทากัน ในกรณีที่ฐานรากขนาดหนึ่งขนาดใดรับน้ำหนักบรรทุกที่แตกตางกันมากเกินไป อาจทําใหเกิดการทรุดตัวไมเทากันได แมวาจะออกแบบฐานราก

ดังกลาวไวสําหรับรับน้ำหนักบรรทุกมากที่สุดก็ตาม ดังนั้นจึงไมควรอยางยิ่งที่จะออกแบบฐานรากเพียงหนึ่งหรือสองขนาดที่รับน้ำหนักบรรทุกมากที่สุด สวนฐานรากที่เหลือทั้งหมดก็ใชขนาดเหมือนกับฐานรากนี้ เพราะจะทําใหเกิดการทรุดตัวไมเทากันขึ้น เนื่องจากฐานรากที่รับน้ำหนักมากจะทรุดตัวมาก สวนฐานรากที่รับน้ำหนักนอยก็จะทรุดตัวนอย ในกรณีของฐานรากเสาเข็ม ใหคํานวณหาจํานวนเสาเข็มที่พอดีกับน้ำหนักบรรทุกที่กระทําบนฐานรากแตละฐาน

อัตราสวนของน้ำหนักบรรทุกตายตัวและน้ำหนักบรรทุกจร แตกตางกันในเสาแตละตน

ขนาดของฐานรากที่กอสรางจริงอาจแตกตางจากขนาดของฐานรากตามแปลนกอสราง

ความแข็งเกร็ง (Rigidity) ของโครงสรางสามารถทําใหเกิดการทรุดตัวไมเทากัน กลาวคือ โครงสรางที่แข็งเกร็งมากกวายอมสามารถกระจายแรงกระทําใหชิ้นสวนอื่นของโครงสรางไดดีกวา จึงมีความสามารถที่จะตาน ทานการทรุดตัวไมเทากันไดดีกวา ดังแสดงในรูปที่ 3

การทรุดตัวไมเทากันทําใหเกิดการเอียง และกอปญหาที่รุนแรงมากกวาการทรุดแบบสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในอาคารสูง เพราะวาการเอียงมักทําใหโครงสรางบิดเบี้ยว และมีผลทําใหเกิดหนวยแรงดัดในโครงสราง ซึ่งเปนที่มาของรอยแตกที่ตําแหนงตางๆ ของโครงสราง ซึ่งในทางวิศวกรรมสามารถแสดงดวยคาการบิดเชิงมุม (Angular Distortion, θ)

ซึ่งสมการคือ θ=δD/S

เมื่อ δ D คือ การทรุดตัวที่ตางกันมากที่สุดระหวางจุดสองจุด

และ S คือ ระยะหางระหวางสองจุดที่เกิดการทรุดตัวไมเทากัน

ในทางทฤษฎีหากสามารถจําลองพฤติกรรมของดินที่ถูกตอง และรูลักษณะเงื่อนไขของแรงที่แนนอน รวมถึงคาความแปรปรวนของคุณสมบัติของดิน จะทําใหสามารถคํานวณ หาแรงบิดที่ทําใหโครงสรางเสียหาย แตในความเปนจริงแลวขอมูลดังกลาวยากที่จะรูไดอยางแนนอน จึงตองมีการนําขอมูลที่ไดจากการตรวจวัดโครงสรางประเภทตางๆ ในสนามมาเปรียบเทียบ เพื่อหาคาที่เหมาะสมสําหรับโครง สรางที่มีการใชงานตางๆ กัน

3. การทรุดตัวไมเทากันที่ยอมใหได (Maximum Allowable Differential Settlement)

ในการออกแบบจะตองมีการกําหนดคามากที่สุดของการทรุดตัวไมเทากันที่ยอมใหได (Maximum Allowable Differential Settlement, δ Da) ทั้งนี้คาการทรุดตัวไมเทากันที่เกิดขึ้นจริง (δD) จะตองมีคาไมเกินคานี้ (δD ≤ δDa)

การหาคามากที่สุดของการทรุดตัวไมเทากันที่ยอมให ไดสําหรับโครงสรางใดๆ นั้น พิจารณาจากขนาดที่ทําใหประตู/หนาตางเปด-ปดไมได มีรอยแตกขนาดใหญจํานวนมากบนกําแพง และตามชิ้นสวนของโครงสรางตางๆ รวมถึงตองพิจารณาในแงความสวยงามของโครงสราง ในการสรางแบบจําลองของโครงสรางเพื่อวิเคราะหหาขนาดของ δDa ทําไดยากมาก เพราะตัวแปรที่เกี่ยวของซึ่งตองนํามาคํานวณนั้นมีตั้งแตขนาด ชนิดของโครงสราง วัสดุที่ใชในการกอสราง ลักษณะชั้นดิน อัตราการทรุดตัว และความสม่ำเสมอในการทรุดตัว เปนตน ดังนั้นในทางปฏิบัติ วิศวกรจึงใชวิธีการเอมไพริคอล (Empirical Method) โดยการวัดการทรุดตัวไมเทากันที่เกิดขึ้นจริงในโครงสราง และประเมินการใชงานในขณะนั้นๆ การศึกษาตามวิธีการนี้ มีผูไดศึกษาไวเปนจํานวนมาก ไดแก Skempton and MacDonald (1956), Polshin and Tokar (1957) และ Grant et al. (1974) เปนตน โดย Skempton and MacDonald (1956) ไดสํารวจอาคาร 98 แหง และพบวา 40 แหงที่เกิดความเสียหายนั้นเกิดการแตกราวของสวนตกแตงพื้นผิว เชน ผิวปูนฉาบ สวนการศึกษาของ Polshin and Tokar (1957) เปนการศึกษาโครงสรางในประเทศรัสเซีย โดยการสังเกตอาคารตางๆ มาเปนเวลากวา25 ป ขณะที่การศึกษาของ Grant et al. (1974) บนอาคาร 95 แหง พบวา 56 แหงเกิดความเสียหาย ผลสรุปจากขอมูลการศึกษาของกลุมคณะตางๆ ดัง กลาวขางตน ซึ่งจะอยูในรูปคาการบิดเชิงมุมที่ยอมใหเกิดได (Allowable Angular Distortion, θa) ที่ไมทําใหโครงสรางแตกราวเสียหาย แสดงไวในตารางที่ 2 โดยคาเหลานี้ไดจากการรวมคาพิกัดความปลอดภัย (Factor of Safety) ที่มากกวา 1.5 ไวแลว

ดังนั้น δDa = θaS ..... (1)

โดยที่

δDa = การทรุดตัวไมเทากันที่ยอมใหได

θa = การบิดเชิงมุมที่ยอมใหได

S = ระยะหางระหวางเสาที่ใชคํานวณ

นอกจากนี้ผลจากขอมูลเอมไพริคอลยังพบวา อาคารทั่วไปจะเกิดความเสียหายตอสถาปตยกรรม

เมื่อคาการบิดเชิงมุม (θ) = 1/300 และเกิดความเสียหายตอโครงสราง เมื่อคาการบิดเชิงมุม (θ) = 1/150



4. การคํานวณการทรุดตัวไมเทากันของฐานรากแผ

การประมาณคาการทรุดตัวไมเทากันของฐานรากแผทําได 2 วิธี โดยวิธีการแรกคํานวณการทรุดตัวของฐานรากทุกฐานโดยใชเงื่อนไขชั้นดิน และน้ำหนักบรรทุกสําหรับฐานรากนั้นๆ โดยใชเงื่อนไขที่ทําใหดินมีการทรุดตัวมาก และเงื่อนไขที่ทําใหดินมีการทรุดนอย และนํามาเปรียบ เทียบกัน ผลตางของการทรุดตัวทั้งหมดที่คํานวณจากสองเงื่อนไขนี้ คือการทรุดตัวไมเท่ากันนั่นเอง สวนอีกวิธีจะหาการทรุดตัวไมเทากัน (δD) จากการทรุดตัวทั้งหมด (δ) โดยใชอัตราสวน δD/δ ที่ไดจากการสังเกตโครงสรางที่คลายๆ กันที่วางอยูบนชั้นดินคลายๆ กัน โดยวิธีนี้สามารถใชกราฟที่ศึกษาโดย Bjerrum (1963) ซึ่งเปรียบเทียบการทรุดตัวทั้งหมดกับการทรุดตัวไมเทากัน บนชั้นดินเหนียวและชั้นดินทราย ดังแสดงในรูป 4 และ 5 โดย

ชั้นดินที่ศึกษาเปนดินในแถบสแกนดิเนเวีย ซึ่งมีลักษณะออน เสนกราฟที่ไดจึงแสดงการทรุดในปริมาณที่สูง แตอยางไรดีการนํากราฟทั้งสองนี้ไปใชงานในพื้นที่ที่ตางออก ไป ควรตองหาเสนกราฟความสัมพันธสําหรับดินในพื้นที่นั้นๆ เพราะดินในแตละแหงยอมมีลักษณะเฉพาะและใหผลที่แตกตางกัน ในกรณีที่ไมสามารถหาขอมูลอัตราสวน δD/δ สําหรับพื้นที่นั้นๆ ได อาจใชขอมูลในตารางที่ 3 ซึ่งขอมูลนี้ไดปรับมาจากขอมูลของหลายพื้นที่ และมีความปลอดภัยอยูพอควร


5. แนวทางปองกันการทรุดตัวไมเทากัน

หากมีการทรุดตัวไมเทากันมากเกินไป (δD > δDa) จะ ตองมีการแกไข อาจจะปรับการออกแบบ แมวาการทรุดตัวทั้งหมดยังอยูในเกณฑก็ตาม วิธีการแกไขสามารถทําไดหลายแนวทาง ดังนี้

เพิ่มขนาดของฐานรากจนการทรุดตัวไมเทากันอยูในเกณฑที่ยอมรับได ซึ่งทําโดยใชคา δDa และอัตราสวน δD/δ เพื่อหาคาของ δ a (การทรุดทั้งหมด) และปรับขนาดฐานรากตามคาของ δa ที่ได

เชื่อมฐานรากโดยใชคาน (Grade Beam) เพื่อเพิ่มความแข็งเกร็ง ทําใหการทรุดตัวไมเทากันลดลง โดยสามารถใชหลักการวิเคราะหโครงสราง เพื่อหาปริมาณการทรุดตัวไมเทากันที่ลดลงไปได

เปลี่ยนฐานรากแผ (Spread Footing) เปนฐานรากแพ (Mat Foundation) เพื่อเพิ่มความแข็งเกร็ง และทําใหการทรุดตัวไมเทากันลดลงได

เปลี่ยนระบบฐานรากใหเปนฐานรากลึก (Deep Foundation)

6. บทสรุป

ในการออกแบบฐานราก สิ่งที่ตองคํานึงถึงนอก จากการรับน้ำหนักบรรทุกแลว วิศวกรจะตองออกแบบฐานรากใหเกิดปริมาณการทรุดตัวอยูในเกณฑที่กําหนด ทั้งนี้การทรุดตัวสม่ำเสมอจะไมทําใหเกิดความเสียหายตอโครง สรางมากเทากับการทรุดตัวไมเทากัน เนื่องจากการทรุดตัวไมเทากันทําใหโครงสรางเกิดการบิด และสงผลใหโครง สรางเกิดการวิบัติไดงายกวา วิศวกรสามารถใชวิธีเอมไพริคอล (Empirical Method) เปนแนวทางในการออกแบบ และประมาณการทรุดตัวไมเทากันของฐานราก ซึ่งจะทําใหการออกแบบฐานรากมีความมั่นคง และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

วิศิษฐ อยูยงวัฒนา

ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต

Email: wisit@rangsit.rsu.ac.th


Thursday, December 3, 2009

HIA งานที่ต้องทำเพิ่ม เงินที่ต้องเตรียมจ่าย











สารเคมีไม่ใช่เชื้อโรคที่จะมียาฆ่าหรือต้าน ที่ทำได้คือการแก้หรือบรรเทา เช่นเจอกรดก้อเอาด่างไปใส่ เจอด่างก้อเอากรดไปใส่ เพื่อให้เกิดความป็นกลางหรือทำให้เจือจางลง ดังนั้น อุตสาหกรรมที่ส่งผลกระทบกับสุขภาพ จึงต้องให้ความสนใจเรื่องการทำ HIA ประกอบกับงานด้าน EIA ไม่ใช่เป็นความต้องการของรัฐธรรมนูญ แต่เป็นเรื่องของทั่วโลกเขาก้อให้ความใส่ใจ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป การที่นักลงทุนไม่เข้าใจ จึงเป็นประเด็นที่บอกว่า ถ้าคิดจะมาลงทุน ก้อจำเป็นที่ต้องเข้าใจข้อกำหนดต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เมื่อก่อนประเทศไทยก้อไม่มีการทำ EIA แต่ต่อมาภายหลังที่ประเทศพัฒนาแล้วให้ความใส่ใจปัญหาสิ่งแวดล้อมข้อกำหนดต่างๆ จึงเกิดขึ้น ในเมื่อเราเป็นประเทศที่เอาตามอย่าง เพราะฉะนั้น จึงไม่ต้องห่วงว่า เขาจะไม่เข้าใจ การเปลี่ยนฐานการลงทุน เพื่อไปในประเทศที่มีกฎเกณฑ์ต่ำ สุดท้าย ก้อจะหนีไม่พ้นการที่ไปสร้างปัญหาให้กับพื้นที่อื่นอยู่ดี การทำให้ถูกต้อง เป็นเรื่องที่ถูกต้อง เสียเวลาเสียเงิน ทำให้ถูกต้อง เพื่ออนาคตของโครงการต่างๆ ที่จะมีตามมาด้วย

ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมที่ทุกคนที่เกี่ยวข้องต้องให้ความใส่ใจ กับการทำงานที่มีความต้องการปฏิบัติตามข้อกำหนดของ EIA-HIA-SAFETY-QA/QC งานในภูมิภาคอื่นข้อกำหนดต่างๆ เอาแค่ความปลอดภัยในการทำงาน กับงานคุณภาพ ดูเหมือนว่าจะเพิ่มต้นทุนและความยุ่งยากในการทำงานไม่ใช่น้อย แต่คราวนี้เพิ่มขึ้นมาอีก 2 ส่วน ดังนั้น จำเป็นจะต้องมาดูว่า จะต้องมีค่าใช้จ่ายอะไรเพิ่มขึ้นมาบ้าง ถ้าไม่มีการเตรียมค่าใช้จ่ายส่วนนี้ไว้ สุดท้ายก้อทำโดยการหลีกเลี่ยง กฎหมายควรกำหนดว่าทุกโครงการต้องมีการเตรียมค่าใช้จ่ายส่วนนี้ให้ชัดเจน เพราะถ้าไม่มีก็จะเป็นการเปิดช่องให้มีการหลีกเลี่ยงในที่สุด

Introduction

Health impact assessment (HIA) is a tool for facilitating the intersectoral action that has been advocated by policies such as health for all and Agenda 21 for years. HIA is defined as “a combination of procedures, methods and tools by which a policy, programme or project may be judged as to its potential effects on the health of a population, and the distribution of those effects within the population.”1 HIA goes beyond providing information – it aims to influence decisions and the people who make them. HIA’s participatory approach brings together people from a range of sectors, and from the community to consider how a proposed policy, programme or project may positively or negatively impact on health. As such, it is an important tool for raising awareness of the wide range of economic, social and environmental influences that determines health.
Some milestones in HIA
  • 1981 Establishment of PEEM (Panel of Experts in Environmental Management for vector control) by WHO, FAO and UNEP.1
  • 1984 Start of the HIA component as part of annual EIA training at the Centre for Environmental Impact Assessment and Management in Aberdeen (partly sponsored by WHO Europe). Annual sessions continued up to the beginning of the 1990s.2
  • 1986 WHO meeting on the Health and Safety component of environmental impact assessment (22).
  • 1988 Analysis of the methodological and substantive issues affecting human health considerations by the Monitoring and Assessment Research Centre, London (23).
  • 1989 First edition of the Guidelines for forecasting the vector-borne disease implications of water resources development by PEEM (24).
  • 1991 Survey on HIA/EIA practice in Canada (25).
  • 1992 Handbook for practitioners on environmental and health impact assessment of development projects (26).
  • 1992 Asian Development Bank guidelines for the health impact assessment of development projects (27).
  • 1993 Quebec Framework for HIA/EIA, including a section on social impact assessment (28).
  • 1994 Australian national framework for environment and health impact assessment (29).
  • 1994 Publication of the German Framework on HIA/EIA (30).
  • 1997 Update on HIA in the Environmental Assessment Sourcebook of the World Bank (12).
  • 1998 Publication on health and environmental impact assessment by the British Medical Association (31).
  • 1998 HIA Section at the International Association for Impact Assessment.
  • 1999 Gothenburg Consensus Paper on HIA (32).
  • 2000 The Canadian handbook on health impact assessment – a work in progress (33).
  • 2000 Memorandum of Understanding between the International Association for Impact Assessment and the World Health Organization.


The HIA process has the potential to:

• Increase awareness about the health effects of plans for transport, the built environment housing, social services, education, etc.
• Establish a shared understanding of health (in the context of sustainable development) among a wide range of stakeholders.
• Create a sense of responsibility for health among sector representatives, while providing a clear process for taking action to improve health.
• Identify interventions to minimize negative and maximize positive health outcomes, based on intersectoral action.
• Place health at the heart of policy-making.
• Provide a systematic approach for integrating the principle of equity into decision making.
• Provide a better understanding of local needs for public services and the way they are used, enabling sectors to better target resources.
• Highlight opportunities to coordinate actions across sectors.


Guiding Principles for HIA

Adapted from: Quigley R, den Broeder L, Furu P, Bond A, Cave B, Bos R. Health Impact Assessment International Best Practice Principles. Fargo, USA: International Association of Impact Assessment, 2006.

Democracy – emphasizing the right of people to participate in the formulation and decisions of proposals that affect their life, both directly and through elected decision makers. In adhering to this value, the HIA method should involve and engage the public, and inform and influence decision makers. A distinction should be made between those who take risks voluntarily and those who are exposed to risks involuntarily (World Health Organization, 2001).

Equity – emphasizing the desire to reduce inequity that results from avoidable differences in the health determinants and/or health status within and between different population groups. In adhering to this value, HIA should consider the distribution of health impacts across populations, paying specific attention to vulnerable groups and recommend ways to improve the proposed development for affected groups.

Sustainable development – emphasizing that development meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meet their own needs. In adhering to this value, the HIA method should judge short- and long-term impacts of a proposal and provide those judgments within a time frame to inform decision makers. Good health is the basis of resilience in the human communities that support development.

Ethical use of evidence – emphasizing that transparent and rigorous processes are used to synthesize and interpret the evidence, that the best available evidence from different disciplines and methodologies is utilized, that all evidence is valued, and that recommendations are developed impartially. In adhering to this value, the HIA method should use evidence to judge impacts and inform recommendations; it should not set out to support or refute any proposal, and it should be rigorous and transparent.

Comprehensive approach to health – emphasizing that physical, mental and social well-being is determined by a broad range of factors from all sectors of society (known as the wider determinants of health). In adhering to this value, the HIA method should be guided by the wider determinants of health.

Thursday, November 26, 2009

MEGA & Extra - Construction Project VDOs





Hoover Dam Construction
, complete videoWatch this video on youtube.com 35:02 - 3 years ago
From the time of conception to the finished project, this informative video program explains the construction of the highest dam in the world, Hoover Dam.










720p HD Stitching the Sky Timelapse Jet trails Remake2:55
This updated version contains enhanced, up-converted original footage and new 1920...
11 months ago 15,196 views jcmegabyte
Time lapse forest fire video0:18
Fire was burning in the Angeles National Forest near Mt. Baldy(highest peak on the...
1 year ago 972 views winchesterz
Dubai and Moscow's Moving Skyscrapers1:31
NOTE: I did not make this video. It is the video produced by the architectural fir...
1 year ago 1,159,030 views culturescene
Dubai World Islands3:32
A video on Dubai's plans to develope a world island.
3 years ago 1,404,060 views zagary
Skyscraper Construction - Shinjuku Skyscrapers Time-lapse0:16
35 years of Shinjuku for 10 seconds (From July 1969 To July 2004)
2 years ago 516,935 views astaire007
Hong Kong Construction Afternoon Time Lapse2:23
Four hours of Hong Kong skyscraper construction sped up just over 100 times. M...
3 years ago 52,906 views aroundtheworls
Willis Building - timelapse construction video3:11
A timelapse video of the new Willis Building going up in London. This shows demoli...
3 years ago 23,793 views wjfox2006
Hoover Dam construction time lapse video0:28
This is a copy of the time lapse film at shown at the Hoover Dam visitor center.
2 years ago 79,898 views bobd2h
Reno Balloon Race 20061:09
One hundred six balloons in a mass ascension at the Reno Balloon Race. Can you see...
3 years ago 2,724,749 views tlapse
Building the Hawaii Super Ferry3:35
In just eight weeks, this team must complete the Super Ferry -- a ship as big as a...
2 years ago 38,592 views NationalGeographic
South Pole Construction Nightmare3:26
A complex project at the South Pole is stymied by extreme weather conditions. T...
2 years ago 279,625 views NationalGeographic
Exotic Time Lapse Photography1:25
Exotic Time Lapse Photography [video unavailable]
Fantastic time lapse photography from around the world. Enjoy ! Source: ...
3 years ago 38,410 views googlepolice
Time Lapse photography ( Night & Day )2:50
Time lapse photography from around the world. Quite beautiful. Enjoy ! Ph...
3 years ago 99,059 views googlepolice
mega construction0:10
mega precast system in luanda
no rating 1 year ago 10,503 views mampoer469
Mega Dubai8:20
dubai fastesa growing city in the world .tallest building in the world
1 year ago 55,996 views zerzoumia
Dubai Mega Projects 1 5/57:48
hello every one im glad this will be my 2nd video that has reached over 100,000 an...
2 years ago 284,439 views philipman2000
World's Biggest Airport - Beijing Airport! (1of5)9:01
World's Biggest Airport - Beijing Airport! (1of5) [video unavailable]
Beijing Capital International Airport, (simplified Chinese: 北京首都国际机场; traditional ...
1 year ago 149,467 views chinasuperpower
King Abdullah City-World's largest private sector investment9:30
www.kingabdullahcity.com/en In what is part of the "Dawning of a new age in Saudi...
2 years ago 34,586 views meetahmed
New Riyadh City0:29
better res download http://myweb.saudi.net.sa/blueman/riyadh-matte.rar This i...
2 years ago 40,222 views samiattar
Massive Program Aims to Restore the Everglades3:24
A massive construction project in Florida will try to breathe life back into the ...
no rating 1 year ago 657 views VOAvideo


The Venus Project3:19
The Venus Project
2 years ago 115,436 views Kiwibirdman1701
GCRT  - Real-time visualisation - Urban Circus0:36
Urban Circus visualisation of proposed rapid transit route from real-time 3D model...
1 year ago 1,622 views UrbanCircus2008
Brisbane Developments 2008 presented by Chris Hinds Team - 15:18
Brisbane developments that have been council approved or are currently under const...
1 year ago 1,567 views thechrishindsteam
Soleil Brisbane development1:08
SOLEIL-Meriton's Brandnew Brisbane CBD Development
1 year ago 958 views yunshan0568
Dredging it's what we do1:49
The U.S. Army Corps of Engineers' Norfolk District completes multiple dredging pro...
1 year ago 620 views armyengineersnorfolk
US army engineers2:15
US army engineers have developed a new armour wall made of a fabric like material.
1 year ago 899 views k1w1boy534
MEGA-CONSTRUCCIONES TÚNEL 03/059:57
CONSTRUCCION DEL TUNEL DE SERVICIO DE AGUA 3 DE 5
1 year ago 21,789 views walterretlaw
MegaConstrucciones. Uniendo el Estrecho de Bering. 1/510:00
Uniendo el Estrecho de Bering
1 year ago 100,444 views NBZink
MegaConstrucciones. Uniendo el Estrecho de Bering. 2/510:00
Uniendo el Estrecho de Bering
1 year ago 50,594 views NBZink
Extreme Engineering - Kuala Lumpur Mega Tunnel 1/510:00
Extreme Engineering - Kuala Lumpur Mega Tunnel 1/5 [video unavailable]
Discovery Channel - Extreme Engineering - Kuala Lumpur Mega Tunnel Part 1: http...
1 year ago 15,286 views Pathiarakos
1/5 MEGA CITY in a PYRAMID Extreme Engineering10:21
1/5 MEGA CITY in a PYRAMID Extreme Engineering [video unavailable]
MEGA CITY in a PYRAMID Extreme Engineering
11 months ago 1,171 views atamotua
Extreme Engineering - Venice Flood Gates 1/510:00
Extreme Engineering - Venice Flood Gates 1/5 [video unavailable]
Discovery Channel - Extreme Engineering - Venice Flood Gates Part 1: http://www...
1 year ago 10,556 views Pathiarakos
The World - Dubai4:34
The World Islands, are a collection of man-made islands shaped into the continents...
2 years ago 2,554,123 views smuzew
Dokumentation - Discovery Channel - Mega Builders - Dubai Palm - Fantasy Island 1/59:14
Dokumentation - Discovery Channel - Mega Builders - Dubai Palm - Fa... [video unavailable]
Dokumetation - Discovery Channel - Mega Builders - Dubai Palm - Fantasy Island 1/5
1 year ago 34,447 views ugurslide
megabuilders: windpark part19:41
dutch subtitled
1 year ago 3,709 views ralphft
megabuilders: ship yard part19:53
dutch subtitled
1 year ago 9,259 views ralphft
World's Largest Dam ! China Three Gorges Dam (Part2of9)9:13
World's Largest Dam ! China Three Gorges Dam (Part2of9) [video unavailable]
The Three Gorges Dam (simplified Chinese: 长江三峡大坝; traditional Chinese: 長江三峽大壩; pin...
1 year ago 24,269 views chinasuperpower
Knock Nevis - The Largest Ship Ever - 565.000 DWT2:11
All pictures' origin: http://supertankers.topcities.com/index.htm The world la...
2 years ago 1,344,370 views bickin
Time Lapse Central Park in New York City1:11
A time lapse of a couple of hours, from a building facing Central Park, New York
2 years ago 49,838 views qdbout